ผลิตยาต้านเอดส์

มีเรื่องราวที่น่าสนใจที่เรากำลังจะเข้าไปทำความรู้จักในวันนี้นั้น  เป็นเรื่องราวที่เกี่ยวข้องกับยา   ต้านไวรัส ที่ถูกสร้างขึ้นมาโดยฝีมือคนไทย  และแน่นอนว่าเรื่องราวดังกล่าวนี้  ไม่ค่อยเป็นที่รู้จักของผู้คนทั่วไปเท่าไหร่

ผลิตยาต้านเอดส์ หรือแม้แต่ตัวคนไทยเองก็ยังไม่เคยได้รับรู้มาก่อน  เพราะว่าก็ไม่ได้สนใจที่จะศึกษาเรื่องราวเหล่านี้เท่าไหร่นัก 

แล้วทำไมเราถึงเรื่องราวดังกล่าวนี้ขึ้นมาพูด  มันมีความน่าสนใจมากน้อยแค่ไหนแน่นอนว่าสิ่งใดที่เราหยิบยกขึ้นมาพูด แน่นอนมันเป็นผลงานของคนไทยและเราก็อยากจะพาทุกคนไปทำความรู้จักกับเรื่องนี้ว่าก่อนที่จะมียาต้านไวรัสเอดส์ขึ้นมา ผู้คิดค้นนั้นต้องผ่านอะไรมาบ้าง

แน่นอนว่าหลายสิ่งหลายอย่างที่เกิดขึ้นมาบนโลกของเรา  มีการเปลี่ยนแปลงไปเป็นอย่างมากมีสิ่งใหม่เกิดขึ้นมาอยู่ตลอดเวลา  หรือว่าสิ่งเก่าๆที่เคยมีอยู่ก็เริ่มที่สูญสลายหายไป  มีสิ่งใหม่เข้ามาแทน

ซึ่งในวันนี้หรือเปล่าที่เรากำลังจะพูดถึงเป็นการผลิตยาต้านเอดส์  ใครหลายคนอาจจะยังไม่เคยได้รับรู้มาก่อนว่า   ผู้ที่คิดค้นและผู้ที่ผลิตขึ้นมา เป็นคนไทย  ศาสตราจารย์พิเศษเภสัชกรหญิง ดร กฤษณาไกรสินธุ์ เภสัชกรหญิงชาวไทย ที่อุทิศตนต่อสู้เพื่อให้ประชากรโลก 

มีสิทธิบัตรในการเข้าถึงยา อันถือเป็นสิทธิมนุษยชนขั้นพื้นฐานเป็นผู้ริเริ่มการวิจัยยาต้านเอดส์  จนสามารถผลิตยาสามัญชื่อยาเอดส์ได้เป็นครั้งแรก ในประเทศ  ดร กฤษณา  ยังประสบความสำเร็จในการคิดค้นวิจัยยาต้านเชื้อไวรัสเอดส์ 

จนสามารถผลิตยาสามัญชื่อ ZIDOVUDINE หรือ AIT ซึ่งเป็นยาต้านเอดส์ ลดการติดเชื้อจากแม่สู่ลูกเป็นครั้งแรกของโลก หลังจากที่ได้ลาออกจากองค์การเภสัชกรรม เธอก็เริ่มต้นการทำงานในประเทศคองโก และประสบความสำเร็จในการ    ตั้งโรงงานเภสัชกรรมแห่งแรกในคองโก ที่สามารถผลิตยาต้านเชื้อไวรัสเอดส์ชื่อ Afrivir

โดยมีส่วนผสมเหมือนยาที่ผลิตในประเทศไทย และยังได้เดินทางไปถ่ายทอดการผลิตยาในหลายประเทศในทวีปแอฟริกานานหลายปี จนได้รับฉายาเภสัชกรยิปซีว่า 30 ปีที่ดอกเตอร์กฤษณา ได้ทุ่มเทกับการทำงานเพื่อผลักดันให้ผู้ป่วยยากไร้ทั่วโลก ได้มีโอกาสใช้ยารักษาโรคเอดส์ก็ส่งผลให้ดอกเตอร์กฤษณาได้รับรางวัลนักวิทยาศาสตร์โลกประจำปีพุทธศักราช 2547

รางวัลบุคคลแห่งปีของเอเชียอีกทั้งยังเป็นเภสัชกรไทยคนแรกที่ได้รับรางวัลแมกไซไซๆ ในปีพุทธศักราช 2552 ผลงานและการอุทิศตัวการทำงานของดอกเตอร์กฤษณาเป็นที่สนใจในวงกว้างจนถูกนำมาสร้างเป็นภาพยนตร์สารคดีชีวประวัติ ในปีพุทธศักราช 2549 และทั้งหมดเป็นเพียงแค่ 7 ตัวอย่างของนักวิทยาศาสตร์หญิงที่เปลี่ยนโลก

 

สนับสนุนเนื้อหาโดย    ใช้เครื่องช่วยฟังเมื่อไหร่ดี